องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย info_outline ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำบล
สมัย
อ.สบปราบ จ.ลำปาง

 

 

 

 

 

ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง
local_cafe สถานที่ท่องเที่ยว
พระธาตุม่อนทันใจ รอปรับปรุง
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว พระธาตุม่อนทันใจ วัดพระธาตุม่อนทันใจ ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 4 บ้านอุมลอง หมู่ 8 บ้านป่าไผ่พัฒนา
ประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยว น้ำตกครกอีหล้า น้ำตกครกอีหล้า ดอยผีบ้า ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 บ้านอุมลอง ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 10 กฺิโลเมตร
น้ำตกครกอีหล้า รอปรับปรุง
สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ

 ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว น้ำตกครกอีหล้า

น้ำตกครกอีหล้า   ดอยผีบ้า  ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 บ้านอุมลอง  ตำบลสมัย  อำเภอสบปราบ  จังหวัดลำปาง    ห่างจากหมู่บ้านประมาณ  10  กฺิโลเมตร 
 
 
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว พระธาตุม่อนทันใจ
วัดพระธาตุม่อนทันใจ  ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 4 บ้านอุมลอง  หมู่ 8 บ้านป่าไผ่พัฒนา
 
 
 
สถานที่ท่องเที่ยว
พระธาตุม่อนทันใจ

รอปรับปรุง
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว พระธาตุม่อนทันใจ

วัดพระธาตุม่อนทันใจ ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 4 บ้านอุมลอง หมู่ 8 บ้านป่าไผ่พัฒนา
ประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยว น้ำตกครกอีหล้า

น้ำตกครกอีหล้า ดอยผีบ้า ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 บ้านอุมลอง ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 10 กฺิโลเมตร
น้ำตกครกอีหล้า

รอปรับปรุง
สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ

 ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว น้ำตกครกอีหล้า

น้ำตกครกอีหล้า   ดอยผีบ้า  ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 บ้านอุมลอง  ตำบลสมัย  อำเภอสบปราบ  จังหวัดลำปาง    ห่างจากหมู่บ้านประมาณ  10  กฺิโลเมตร 
 
 
ประชาสัมพันธ์ แหล่้งท่องเที่ยว พระธาตุม่อนทันใจ
วัดพระธาตุม่อนทันใจ  ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 4 บ้านอุมลอง  หมู่ 8 บ้านป่าไผ่พัฒนา
 
 
 
info_outline วิสัยทัศน์-พันธกิจ
วิสัยทัศน์ พันธกิจ รอปรับปรุง
วิสัยทัศน์-พันธกิจ
วิสัยทัศน์ พันธกิจ

รอปรับปรุง
insert_drive_file ข้อมูลตำบล
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน ข้อมูลทั่วไปของตำบล 1. สภาพทั่วไป 1.1 ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 3 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร 1.2 เนื้อที่ มีพื้นที่ประมาณ 148.56 ตารางกิโลเมตร (92,484 ไร่) 1.3 ภูมิประเทศ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง ดังนี้ - ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่กัวะ อำเภอสบปราบ และตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง - ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และ ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง - ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่พุง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ - ทิศตะวันตก ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง 1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1) บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2) บ้านจัว(หมู่ที่ 3) บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5) บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6) บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7) บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8) บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9) บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10) บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13) 1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,198 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,595 คน หญิง 3,603 คน มีจำนวนครัวเรือน 2,041 ครัวเรือน 2. สภาพทางเศรษฐกิจ 2.1 อาชีพ ประชากรในตำบลสมัย ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย - การเลี้ยงสัตว์ จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน เพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลา สำหรับกระบือ เป็ด ไก่ จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า - คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว น้อยหน่า มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง - แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ - หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ได้แก่ ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง และโรงสีข้าว 14 แห่ง 3. สภาพทางสังคม 3.1 การศึกษา - โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง 1. โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา - อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 - มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส) 2. โรงเรียนบ้านอุมลอง 3. โรงเรียนบ้านน้ำหลง 4. โรงเรียนบ้านเด่น 5. โรงเรียนบ้านสมัย - โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน - แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง 1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง 5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น - หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย 13 แห่ง 3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา - วัด/สำนักสงฆ์ มีจำนวน 5 แห่ง คือ 1. วัดสมัยหลวง (ม.1 บ้านสมัย) 2. วัดน้ำหลง (ม.2 บ้านน้ำหลง) 3. วัดบ้านจัว (ม.3 บ้านจัว) 4. วัดอุมลอง (ม.4 บ้านอุมลอง) 5. วัดสมัยชัย (ม.7 บ้านสมัยชัย) - มัสยิด - แห่ง - ศาลเจ้า - แห่ง - โบสถ์ - แห่ง - อนุสาวรีย์ - แห่ง 3.3 การสาธารณสุข - สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง - ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.) 13 แห่ง 3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง - อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร. 1 แห่ง 4. การบริการพื้นฐาน 4.1 การคมนาคม - การคมนาคม และขนส่ง จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32 - การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 4.2 การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง 4.3 ระบบประปาหมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน 1 แห่ง 4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ - ลำน้ำ , ลำห้วย 4 แห่ง คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ - อ่างเก็บน้ำ 4 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ 4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น - ฝาย 29 แห่ง - ฝายชะลอน้ำ - แห่ง - บ่อน้ำตื้น 429 แห่ง - บ่อโยก - แห่ง 5. จุดเด่นของพื้นที่ - พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร - มีการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน บริโภค และจำหน่าย - คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

 

ข้อมูลทั่วไปของตำบล

1.  สภาพทั่วไป
    1.1 ที่ตั้ง
           องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย  ตั้งอยู่เลขที่  113  หมู่  3  ตำบลสมัย  อำเภอสบปราบ  จังหวัดลำปาง  อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ  ประมาณ  4.5  กิโลเมตร
    1.2  เนื้อที่
            มีพื้นที่ประมาณ  148.56  ตารางกิโลเมตร  (92,484 ไร่)
    1.3  ภูมิประเทศ
           ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง  มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง  ดังนี้
           -  ทิศเหนือ            ติดต่อกับพื้นที่  ตำบลแม่กัวะ  อำเภอสบปราบ  และตำบลสันดอนแก้ว  อำเภอแม่ทะ  จังหวัดลำปาง
           -  ทิศใต้                 ติดต่อกับพื้นที่  ตำบลป่าสัก  อำเภอวังชิ้น  จังหวัดแพร่  และ ตำบลสบปราบ  อำเภอสบปราบ  จังหวัดลำปาง
           -  ทิศตะวันออก     ติดต่อกับพื้นที่  ตำบลแม่พุง  อำเภอวังชิ้น  จังหวัดแพร่ 
           -  ทิศตะวันตก       ตำบลสบปราบ  อำเภอสบปราบ  จังหวัดลำปาง
    1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
           จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1)  บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2)  บ้านจัว(หมู่ที่ 3)  บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5)  บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6)  บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7)  บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8)   บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9)  บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10)  บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข  (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13)
    1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน
           จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,469 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,757 คน หญิง 3,712  คน  มีจำนวนครัวเรือน  1,938  ครัวเรือน

2.  สภาพทางเศรษฐกิจ
     2.1  อาชีพ
            ประชากรในตำบลสมัย  ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย
            -  การเลี้ยงสัตว์  จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน  เพื่อการบริโภค  และเพื่อการจำหน่าย  สัตว์ที่นิยมเลี้ยง  ได้แก่  โค  กระบือ  สุกร  เป็ด  ไก่  ปลา  สำหรับกระบือ  เป็ด  ไก่  จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า
            -  คุณภาพของดิน  เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว  น้อยหน่า  มะม่วง  มะขาม  ลำไย  และถั่วลิสง
            -  แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก  คือ  ลำห้วยสมัย  ลำห้วยแม่มอด  ลำห้วยแม่อุมลอง  และลำห้วยแม่สะ
            -  หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย  ได้แก่  ปั๊มน้ำมันและก๊าซ  2  แห่ง  และโรงสีข้าว  14  แห่ง

3.  สภาพทางสังคม
     3.1  การศึกษา
            -  โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน    5     แห่ง
                1.  โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา
                     - อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
                    - มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส)
                2.  โรงเรียนบ้านอุมลอง
                3.  โรงเรียนบ้านน้ำหลง
                4.  โรงเรียนบ้านเด่น
                5.  โรงเรียนบ้านสมัย
                      -  โรงเรียนอาชีวศึกษา                                                    -                            แห่ง
                      -  ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน                               13                           แห่ง
                      -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                                       5                           แห่ง
                         1.  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย   
                         2.  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง
                         3.  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว
                         4.  ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง
                         5.  ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น
                     -  หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย    13      แห่ง       
    3.2  สถาบันและองค์การทางศาสนา
            -  วัด/สำนักสงฆ์                    มีจำนวน       5       แห่ง   คือ
               1.  วัดสมัยหลวง   (ม.1 บ้านสมัย)
               2.  วัดน้ำหลง        (ม.2  บ้านน้ำหลง)
               3.  วัดบ้านจัว        (ม.3  บ้านจัว)
               4.  วัดอุมลอง        (ม.4  บ้านอุมลอง)
               5.  วัดสมัยชัย       (ม.7  บ้านสมัยชัย)
           -  มัสยิด                   -              แห่ง
           -  ศาลเจ้า                -              แห่ง
           -  โบสถ์                   -              แห่ง
           -  อนุสาวรีย์             -              แห่ง 
   3.3  การสาธารณสุข
          -  สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน                 1        แห่ง
          -  ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.)     13       แห่ง
   3.4  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
          -  สถานีตำรวจชุมชน                                             1        แห่ง
          -  อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร.                                      1        แห่ง

4.  การบริการพื้นฐาน
     4.1  การคมนาคม
            -  การคมนาคม  และขนส่ง  จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน  หมายเลข 32
            -  การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล  ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล  โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
    4.2  การโทรคมนาคม
            -  ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข            -              แห่ง
            -  สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ                -              แห่ง
    4.3  ระบบประปาหมู่บ้าน
            องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน  1  แห่ง
    4.4  แหล่งน้ำธรรมชาติ
            -  ลำน้ำ , ลำห้วย   4   แห่ง  คือ  ลำห้วยสมัย  ลำห้วยแม่มอด  ลำห้วยแม่อุมลอง  และลำห้วยแม่สะ
            -  อ่างเก็บน้ำ   4   แห่ง  คือ  อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย  อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง  อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง  และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ
    4.5  แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
            -  ฝาย                         29         แห่ง                      -  ฝายชะลอน้ำ                    -              แห่ง
            -  บ่อน้ำตื้น               429         แห่ง                      -  บ่อโยก                             -              แห่ง

5.  จุดเด่นของพื้นที่
     -  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร  และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร
     -  มีการเลี้ยงสัตว์  ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน  บริโภค  และจำหน่าย
     -  คุณภาพของดิน  เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว    มะม่วง  มะขาม  ลำไย   และถั่วลิสง
ข้อมูลตำบล
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

ข้อมูลทั่วไปของตำบล 1. สภาพทั่วไป 1.1 ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 3 ตำบลสมัย อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ ประมาณ 4.5 กิโลเมตร 1.2 เนื้อที่ มีพื้นที่ประมาณ 148.56 ตารางกิโลเมตร (92,484 ไร่) 1.3 ภูมิประเทศ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง ดังนี้ - ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่กัวะ อำเภอสบปราบ และตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง - ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และ ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง - ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ตำบลแม่พุง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ - ทิศตะวันตก ตำบลสบปราบ อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง 1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1) บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2) บ้านจัว(หมู่ที่ 3) บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5) บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6) บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7) บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8) บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9) บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10) บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13) 1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,198 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,595 คน หญิง 3,603 คน มีจำนวนครัวเรือน 2,041 ครัวเรือน 2. สภาพทางเศรษฐกิจ 2.1 อาชีพ ประชากรในตำบลสมัย ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย - การเลี้ยงสัตว์ จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน เพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลา สำหรับกระบือ เป็ด ไก่ จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า - คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว น้อยหน่า มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง - แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ - หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย ได้แก่ ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง และโรงสีข้าว 14 แห่ง 3. สภาพทางสังคม 3.1 การศึกษา - โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง 1. โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา - อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 - มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส) 2. โรงเรียนบ้านอุมลอง 3. โรงเรียนบ้านน้ำหลง 4. โรงเรียนบ้านเด่น 5. โรงเรียนบ้านสมัย - โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน - แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง 1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง 5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น - หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย 13 แห่ง 3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา - วัด/สำนักสงฆ์ มีจำนวน 5 แห่ง คือ 1. วัดสมัยหลวง (ม.1 บ้านสมัย) 2. วัดน้ำหลง (ม.2 บ้านน้ำหลง) 3. วัดบ้านจัว (ม.3 บ้านจัว) 4. วัดอุมลอง (ม.4 บ้านอุมลอง) 5. วัดสมัยชัย (ม.7 บ้านสมัยชัย) - มัสยิด - แห่ง - ศาลเจ้า - แห่ง - โบสถ์ - แห่ง - อนุสาวรีย์ - แห่ง 3.3 การสาธารณสุข - สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง - ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.) 13 แห่ง 3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง - อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร. 1 แห่ง 4. การบริการพื้นฐาน 4.1 การคมนาคม - การคมนาคม และขนส่ง จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32 - การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 4.2 การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง 4.3 ระบบประปาหมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน 1 แห่ง 4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ - ลำน้ำ , ลำห้วย 4 แห่ง คือ ลำห้วยสมัย ลำห้วยแม่มอด ลำห้วยแม่อุมลอง และลำห้วยแม่สะ - อ่างเก็บน้ำ 4 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ 4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น - ฝาย 29 แห่ง - ฝายชะลอน้ำ - แห่ง - บ่อน้ำตื้น 429 แห่ง - บ่อโยก - แห่ง 5. จุดเด่นของพื้นที่ - พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร - มีการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน บริโภค และจำหน่าย - คุณภาพของดิน เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว มะม่วง มะขาม ลำไย และถั่วลิสง
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

 

ข้อมูลทั่วไปของตำบล

1.  สภาพทั่วไป
    1.1 ที่ตั้ง
           องค์การบริหารส่วนตำบลสมัย  ตั้งอยู่เลขที่  113  หมู่  3  ตำบลสมัย  อำเภอสบปราบ  จังหวัดลำปาง  อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสบปราบ  ประมาณ  4.5  กิโลเมตร
    1.2  เนื้อที่
            มีพื้นที่ประมาณ  148.56  ตารางกิโลเมตร  (92,484 ไร่)
    1.3  ภูมิประเทศ
           ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง  มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลและอำเภอข้างเคียง  ดังนี้
           -  ทิศเหนือ            ติดต่อกับพื้นที่  ตำบลแม่กัวะ  อำเภอสบปราบ  และตำบลสันดอนแก้ว  อำเภอแม่ทะ  จังหวัดลำปาง
           -  ทิศใต้                 ติดต่อกับพื้นที่  ตำบลป่าสัก  อำเภอวังชิ้น  จังหวัดแพร่  และ ตำบลสบปราบ  อำเภอสบปราบ  จังหวัดลำปาง
           -  ทิศตะวันออก     ติดต่อกับพื้นที่  ตำบลแม่พุง  อำเภอวังชิ้น  จังหวัดแพร่ 
           -  ทิศตะวันตก       ตำบลสบปราบ  อำเภอสบปราบ  จังหวัดลำปาง
    1.4 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
           จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. มีจำนวน 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสมัย(หมู่ที่ 1)  บ้านน้ำหลง(หมู่ที่ 2)  บ้านจัว(หมู่ที่ 3)  บ้านอุมลอง(หมู่ที่ 4) บ้านเด่น(หมู่ที่ 5)  บ้านจัวใต้(หมู่ที่ 6)  บ้านสมัยชัย(หมู่ที่ 7)  บ้านป่าไผ่พัฒนา(หมู่ที่ 8)   บ้านจัวกลาง(หมู่ที่ 9)  บ้านจัวสามัคคี(หมู่ที่ 10)  บ้านสมัยเสรี(หมู่ที่ 11) บ้านน้ำหลงสันติสุข  (หมู่ที่ 12) และบ้านเด่นนภา(หมู่ที่ 13)
    1.5 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือน
           จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 7,469 คน โดยแยกเป็น ชาย 3,757 คน หญิง 3,712  คน  มีจำนวนครัวเรือน  1,938  ครัวเรือน

2.  สภาพทางเศรษฐกิจ
     2.1  อาชีพ
            ประชากรในตำบลสมัย  ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้าง และค้าขาย โดย
            -  การเลี้ยงสัตว์  จะเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน  เพื่อการบริโภค  และเพื่อการจำหน่าย  สัตว์ที่นิยมเลี้ยง  ได้แก่  โค  กระบือ  สุกร  เป็ด  ไก่  ปลา  สำหรับกระบือ  เป็ด  ไก่  จะเลี้ยงแบบธรรมชาติโดยปล่อยให้สัตว์หากินเองตามทุ่งหญ้า
            -  คุณภาพของดิน  เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว  น้อยหน่า  มะม่วง  มะขาม  ลำไย  และถั่วลิสง
            -  แหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก  คือ  ลำห้วยสมัย  ลำห้วยแม่มอด  ลำห้วยแม่อุมลอง  และลำห้วยแม่สะ
            -  หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสมัย  ได้แก่  ปั๊มน้ำมันและก๊าซ  2  แห่ง  และโรงสีข้าว  14  แห่ง

3.  สภาพทางสังคม
     3.1  การศึกษา
            -  โรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน    5     แห่ง
                1.  โรงเรียนชุมชนบ้านจัววิทยา
                     - อนุบาล, ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
                    - มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส)
                2.  โรงเรียนบ้านอุมลอง
                3.  โรงเรียนบ้านน้ำหลง
                4.  โรงเรียนบ้านเด่น
                5.  โรงเรียนบ้านสมัย
                      -  โรงเรียนอาชีวศึกษา                                                    -                            แห่ง
                      -  ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน                               13                           แห่ง
                      -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                                       5                           แห่ง
                         1.  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมัย   
                         2.  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหลง
                         3.  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจัว
                         4.  ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอุมลอง
                         5.  ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์บ้านเด่น
                     -  หอกระจายข่าวในหมู่บ้านและเสียงตามสาย    13      แห่ง       
    3.2  สถาบันและองค์การทางศาสนา
            -  วัด/สำนักสงฆ์                    มีจำนวน       5       แห่ง   คือ
               1.  วัดสมัยหลวง   (ม.1 บ้านสมัย)
               2.  วัดน้ำหลง        (ม.2  บ้านน้ำหลง)
               3.  วัดบ้านจัว        (ม.3  บ้านจัว)
               4.  วัดอุมลอง        (ม.4  บ้านอุมลอง)
               5.  วัดสมัยชัย       (ม.7  บ้านสมัยชัย)
           -  มัสยิด                   -              แห่ง
           -  ศาลเจ้า                -              แห่ง
           -  โบสถ์                   -              แห่ง
           -  อนุสาวรีย์             -              แห่ง 
   3.3  การสาธารณสุข
          -  สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน                 1        แห่ง
          -  ศูนย์สาธารณสุขหมู่บ้านชุมชน (ศส.มช.)     13       แห่ง
   3.4  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
          -  สถานีตำรวจชุมชน                                             1        แห่ง
          -  อบต. จัดตั้งศูนย์ อปพร.                                      1        แห่ง

4.  การบริการพื้นฐาน
     4.1  การคมนาคม
            -  การคมนาคม  และขนส่ง  จากตัวอำเภอสู่ตำบลสมัยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน  หมายเลข 32
            -  การติดต่อระหว่างหมู่บ้านในตำบล  ทุกหมู่บ้านมีถนนที่ใช้ในการคมนาคมในทุกฤดูกาล  โดยบางช่วงเป็นถนนลูกรังและบางช่วงเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
    4.2  การโทรคมนาคม
            -  ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข            -              แห่ง
            -  สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ                -              แห่ง
    4.3  ระบบประปาหมู่บ้าน
            องค์การบริหารส่วนตำบลสมัยได้รับการถ่ายโอนภารกิจและรับผิดชอบในการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านจำนวน  1  แห่ง
    4.4  แหล่งน้ำธรรมชาติ
            -  ลำน้ำ , ลำห้วย   4   แห่ง  คือ  ลำห้วยสมัย  ลำห้วยแม่มอด  ลำห้วยแม่อุมลอง  และลำห้วยแม่สะ
            -  อ่างเก็บน้ำ   4   แห่ง  คือ  อ่างเก็บน้ำห้วยสมัย  อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง  อ่างเก็บน้ำห้วยแม่อุมลอง  และอ่างเก็บน้ำห้วยแม่สะ
    4.5  แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
            -  ฝาย                         29         แห่ง                      -  ฝายชะลอน้ำ                    -              แห่ง
            -  บ่อน้ำตื้น               429         แห่ง                      -  บ่อโยก                             -              แห่ง

5.  จุดเด่นของพื้นที่
     -  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการทำการเกษตร  และมีแหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร
     -  มีการเลี้ยงสัตว์  ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน  บริโภค  และจำหน่าย
     -  คุณภาพของดิน  เป็นดินร่วนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกข้าว    มะม่วง  มะขาม  ลำไย   และถั่วลิสง